Introduction to Inflation and its Economic Impact
Inflation is a critical economic phenomenon where prices of goods and services consistently rise, impacting purchasing power and economic stability. Understanding inflation requires examining various factors, including economic activities, production costs, and consumer behavior. This article delves into how inflation influences economic policies, especially in the context of Thailand, and examines the mechanisms employed to maintain price stability.
What is Inflation?
Definition of Inflation
Inflation refers to the rate at which the general level of prices for goods and services rises, eroding purchasing power. It indicates how much more expensive a set of goods and services has become over a certain period, usually a year.
Causes of Inflation
Inflation can arise from several perspectives:
- Demand-Pull Inflation: Occurs when demand for goods and services exceeds supply, leading to higher prices.
- Cost-Push Inflation: Happens when the costs of production increase, prompting businesses to raise prices to maintain profit margins.
- Built-In Inflation: Relates to the expectations of future inflation, where businesses increase wages and prices anticipating higher costs ahead.
The Role of Economic Activity in Inflation
The Output Gap
The output gap is a crucial measure in understanding inflation. It compares the actual output of an economy to its potential output. When the economy runs above its potential, it can lead to increased inflation pressures due to high demand.
- Positive Output Gap: Increased spending leads to demand-pull inflation.
- Negative Output Gap: Economic output below potential can lead to deflationary pressures.
Consumer Confidence and Spending
Consumer confidence significantly affects economic activity. Higher confidence levels encourage spending, which stimulates the economy and may lead to inflation.
Monetary Policy and Inflation Management
Monetary policy is a critical tool used by governments and central banks to control inflation and stabilize the economy.
Inflation Targeting
Since the year 2000, Thailand has implemented a Flexible Inflation Targeting strategy that aims to maintain a stable inflation rate while promoting economic growth. This involves:
- Observing inflation forecasts to keep economic activity within balanced levels.
- Adjusting interest rates to influence spending and savings behavior in the economy.
Interest Rates Influence
Interest rates are fundamental in controlling inflation. Lower interest rates make borrowing cheaper, encouraging spending and investment, which can lead to inflation. Conversely, increasing rates can cool down an overheating economy. It is crucial to achieve a balance that supports economic growth without igniting inflation.
Current Economic Context in Thailand
Post-COVID Economic Recovery
Following the COVID-19 pandemic, Thailand's economy is in a recovery phase, marked by low interest rates intended to stimulate spending and investment.
- Challenges: The recovery has led to concerns about rising debt levels as households leverage low rates to finance consumption and investments.
- Policy Responses: Adjustments in monetary policy may be necessary as the economy regains strength, ensuring that any rise in inflation does not destabilize long-term growth prospects.
Government Policies Impacting Inflation
Recent government policies significantly influence economic growth and inflation:
- Fiscal Stimulus: Efforts to stimulate the economy through government spending to counterbalance the recession seen during the pandemic.
- Collaborative Efforts: Coordination between monetary policy and fiscal policies to align goals and enhance economic recovery strategies.
Conclusion: Navigating the Challenges of Inflation
Inflation remains a complex challenge that requires strategic management through informed monetary policies and collaborative government actions. As Thailand navigates its post-COVID recovery, it is crucial to monitor inflation indicators closely while fostering economic stability and growth.
The interplay between economic activity, monetary policy, and government strategies will play a vital role in shaping the future economic landscape of the nation, ensuring that inflation is kept at manageable levels while supporting a robust economic recovery.
[เพลง] เงินเฟ้อก็คือราคาทุกอย่างขึ้นพร้อมกัน หมดสิ่งที่สำคัญในแง่ของระดับราคาใน
ประเทศคือการคาดการของธุรกิจว่าต้นทุนเจะ ขึ้นเท่าไหร่เต้องเซตราคาเท่าไหร่สิ่งที่ เป็นตัวแปรที่สำคัญเลยคือเรื่องของเงินเฟ
คาดการในแง่นี้ปกติแล้วอ่ะทางนโยบายการ เงินเนี่ยเราก็อยากจะดูให้เงินเฟ้อคาดการ เนี่ยมันอยู่ในจุดที่ยึดเหนี่ยวเงินเฟ้อ
การตั้งราคาของภาคธุรกิจได้ถ้ามีแรง กระแทกมาช็อถ้าจะดูแลให้เงินเฟ้ออยู่ใน กรอบได้อย่างยั่งยืนทางนโยบายการเงินเี่
ต้องมองพยายามดูแลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้านการจับจ่าใช้สอยด้านอุประสงค์เนี่ย ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ที่ร้อนแรงเกิน
ไปตัวแปรหลักๆถ้าพูดถึงเงินเฟ้อแรงกดดัน ที่ที่เราดูแลที่สำคัญคือเรื่องของ กิจกรรมทางเศรษฐกิจงั้นในแง่เซตของตัวแปร
ตัวแรกคือเซตที่มาจากตัวแปรที่ดูว่าตอน นี้ระดับการจับจ่ายใช้สอยความเชื่อมั่น ของภาคธุรกิจเป็นยังไงหนึ่งในตัวแปรที่
เราเรียกว่าช่องว่างการผลิตหรือว่า output Gap อ่ะพยายามจะดูว่าระดับของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจปัจจุบันเทียบกับระดับศักยภาพอ่ะ
มันเป็นยังไงถ้าเหมือนมันมันสูงเกินไปมัน ก็อาจจะมีลงกดดันให้ให้ผู้ประกอบการตั้ง ราคาสูงขึ้นอย่างนรงเรียนอันนี้ 2 ก็เป็น
เซตที่แบบเเป็นเรื่องต้นทุนที่อยากจะ Ed เข้าไปสู่เ่อให้ให้ผู้ประกอบการตั้งราคา สูงขึ้นอันที่ 3 ก็เป็นข้อมูลที่มาจากตัว
เงินเฟ้อเองอ่าโดยเฉพาะการสำรวจเรื่องการ คาดการเงินเฟ้อก็สรุปง่ายๆก็ 3 เซตเซตนึง คือดูเรื่องกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งตลาด
แรงงานกิจกรรมอันที่ 2 เป็นเรื่องของต้น ทุนอันที่ 3 เป็นเรื่องของตัวเงินเฟ้อเอง ตัวราคาที่กำลังเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงไปในใน
แต่ละเดือนนะ ครับ คืนนี้เริ่มคุยเรื่องของภาวะทางการเงิน
ที่อาจจะส่งผลทอดไปในระยะยาวเพราะว่าสิ่ง ที่ที่คณะกรรมการนโยบายการเงินให้ความ สำคัญคือเรื่องของสถานะงบตุลของแต่ละแต่
ละภาคส่วนเรื่องโลองในช่วงที่ผ่านมา่าอัน นี้เป็นปรากฏการณ์ไม่ใช่แค่ประเทศไทยนะ หนึ่งในเอ่อจุดประสงค์คือเพื่อกระตุ้น
เศรษฐกิจแต่ว่าหนึ่งในผลข้างเคียงที่ตาม มาก็มีการสะสมหนี้การก่อหนี้อ่าเพิ่มขึ้น งบดุลก็เริ่มมีความเปราะบางมากขึ้นเรื่อย
ๆการขึ้นดอกเบี้ยที่ทำในช่วงที่ผ่านมา เนี่ยมันเป็นเรื่องเศรษฐกิจเรากำลังฟื้น ตัวก่อนหน้านี้เรามีอัตราดอกเบี้ยที่ที่
ต่ำเป็นพิเศษเนื่องจากวิกฤตโควิดทำให้เรา จำเป็นต้องต้องมีแรงกระตุ้นเข้าเข้าไป เสริมซึ่งมันเป็นภาวะไม่ปกติแล้วก็ดอก
เบี้ยต่ำขนาดนั้นเนี่ยแน่นอนมันมันสร้าง แรงจุกใจให้คนอาจจะกู้ยืมแล้วก็การลงทุน ในต้นทุนที่ถูกพอเศรษกิจเริ่มฟื้นเราก็
ต้องถอนคันเร่ง ออก ขีดความสามารถของนโยบายการเงินในการที่จะ
รองรับชอนะไม่ใช่ขีดความสามารถของอ่าการ แข่งขันของประเทศในการกำหนดนโยบายกรรมการ ก็มีการคำนึงถึงเหมือนกันที่เรียกว่า
policy Buffer การชนการกระแทกในแง่ เครื่องมือที่เรามีอ่ะก็คือไอ้ policy Space คีความสามารถในการในการดำเนิน
นโยบายถ้าเศรษฐกิจเกิดวิกฤตเกิดไภาวะถอยๆ ขึ้นมาใช่มั้ยฮะอ่าก็สามารถกระตุ้นได้อัน นี้ก็เป็นอะไรที่เอิ่มไม่ใช่เป้าหมายหลัก
นะเพราะว่าเป้าหมายหลักของการดำเนิน นโยบายการเงินคือดูแลเรื่องของสภาวะ เศรษฐกิจเสถียรภาพในระยะสั้นระยะปานกลาง
แต่ว่าในตัวมันเองเนี่ยการที่มีกระบวนการ ขึ้นอตราเปี้การน miz เนี่ยก็สร้างขีด ความสามารถของนโยบายการเงินที่จะรองรับ
็อกสเกตขึ้นในอนาคตได้การที่ค่อยๆถอนคัน เร่งในในบริบทที่เศรษฐกิจกำลังฟื้นตัวก็ ช่วยให้เศรษฐกิจมีเสถียรภาพในระยะปานกลาง
เพราะว่ามันไม่ร้อนแรงเกินไปไม่มีการก่อ หนี้มากเกินไปแต่ในขณะเดียวกันมันก็มีงาน สร้างไอ้การชนที่ผมว่า policy Buffer
ถ้าเกิดช็อกขึ้นมาก็สามารถดูแลเพื่อเสริม เสรภาพได้เช่นเดียวกันก็มองว่าเป็นมัน เป็นคล้ายๆ 2 เด้งของการสร้างเสรภาพ
ช่วง 10 ปีที่ผ่านมาเนี่ยเอิมมันก็ถือว่า เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยอยู่ในภาวะที่ ที่เจอความเสี่ยงด้านด้านด้านต่ำเยอะพอสม
ควรเศรษฐกิจไทยก็ก็ก็ก็เจอช็อด้านต้าลบพอ สมควรมันก็มีเหตุมีผลที่ทำไมแบบภาคนโยบาย ก็ต้องช่วยช่วยัพช่วยช่วยกระตุ้นใช่มดอง
ปี้ก็เลยอาจจะอยู่ในระดับที่ที่ที่ต่ำแต่ อาจจะเป็นต่ำมากกว่าปกติเพราะฉะนั้นการ ที่เราขึ้นระดับสูงกว่าช่วง 10 ปีที่ผ่าน
มาเนี่ยมันไม่ได้หมายความว่าไอ้นั่นคือ สูงกว่าระดับ Normal โดยปกติแล้วเนี่ย เศรษฐกิจเมันก็จะมีเ่อตัวแปรเชิงพื้นฐาน
ที่กำหนดว่าศักยภาพในการขยายตัวของ เศรษฐกิจเนี่ยอ่าเป็นได้มากน้อยขนาดไหน เช่นอัตราการเจริญเติบโตของประชากรเช่น
อัตราการเพัฒนาของเทคโนลยีที่ที่ดีขึ้น พวกเเป็นตัวที่กำหนดว่าศักยภาพของ เศรษฐกิจอยู่ขนาดไหนการลงทุนควรจะเป็น
ประมาณสักเท่าไหร่ที่จะเหมาะสมกับ เศรษฐกิจแบบนี้นะฮะเศรษฐกิจที่แบบกำลัง พัฒนาปกติก็จะมีศักยภาพการโตที่สูง
เศรษฐกิจที่พัฒนาแล้วก็จะจะมีความอิ่มตัว ก็จะโตได้ช้าหน่อยคราวนี้ด้านอุปสงค์ด้าน ด้านมนเนี่ยความสมดุลของเศรษฐกิจจะเกิด
ขึึ้นค้าถ้าด้านด้านจับจ่ายใช้สอยด้านการ ลงทุนด้านอุปสงค์เนี่ยมันมันมันสมดุลกับ ด้านศักยภาพของเศรษฐกิจด้านอุปฐานตดอก
เบี้ยเป็นหนึ่งในตัวที่คล้ายๆช่วยกำหนดะ อุปสงค์ว่าคุณจะจับจากใช้สอยมากน้อยขนาด ไหนถ้าดอกเบี้ยต่ำมากก็ดึงอำนาจการบริโภค
จากอำนาจซื้อจากอนาคตมาวันนี้มันก็อาจจะ ทำให้อุปสงค์มันสูงกว่าศักยภาพนี่คือ เศรษฐกิจที่ร้อนแรงเพราะฉะนั้นในในแง่ของ
นิยามนะฮะอัตราดอกเบี้ยที่ที่ถือว่าเป็น ระดับปกติในรภาพ Normal ก็คือที่มันสมดุล ระหว่างด้านด้านอุประสงค์กับด้านด้าน
อุปทานพันธกิจหลักของแบง์ชาตของนโยบายการ เงินคือดูแลให้ให้เงินเฟ้ออ่ะอยู่ในระดับ ที่มีเสรภาพในระยะยาวแต่ที่กรอบอนโยบาย
การเงินที่เราดำเนินมาตั้งแต่ปี 2000 เนี่ยที่เรียกว่า flexible inflation targeting มีเป้าหมายเงินเฟ้อแบบยืด
หยุ่นนะฮะก็คือยืดหยุใน 2 ยึดหยุ่นใน 2 มิติมิติแรกคือว่าเงื่อนเวลาที่เราจะดูแล ให้เงินเฟ้ออยู่ในระดับที่มีเสรภาพอันที่
2 คือดูแลเรื่องเศรษฐกิจด้วยแล้วก็ เรื่องของไอ้อเสรภาพทางการ เงินานี่เป็นเป็นเอ่อสิ่งที่คณะกรรมการ
ติดตามอย่างใกล้ชิดอยู่แล้วนะฮะทราบดีว่า เรามาจากวิกฤตโควิดมันเป็นวิกฤตที่ใหญ่ หลวงในแง่ของเรายได้ที่หายไปแบบเยอะมาก
เวลาเริ่มกระบวนการ normalization แน่นอน มันก็ส่งผลกระทบต่อต่อภาระหนี้ของคนที่มี หนี้เอ่อสิ่งที่ที่เราพยายามจะจะดูแลคือ
ว่าในภาพรวมภาระหนี้ของประชาชนน่ะอยู่ใน ระดับที่ที่ไม่สร้างปัญหาแต่ว่าในสำหรับ กลุ่มที่เปราะางโดยเฉพาะเเ่าอันนี้นโยบาย
การเงินมันไม่สามารถจะแบบไปดูแยกแยะ ระหว่างแต่ละกลุ่มได้แล้วก็มีมาตรการ เสริมที่เฉพาะจุดที่ทปททำมาตั้งแต่ชวงม
ติดโควิดแล้วก็ปรับเปลี่ยนมาเรื่อยๆที่จะ ดูแลให้ภาระหนี้ให้มีการเจรจากันแบบเส by Case ก็เป็นเรื่องที่มาตรการเฉพาะสิ่ง
ที่คณะกรรมการก็เป็นห่วงคือไม่ให้มันเป็น ปัญหาที่ทำให้แบบกำลังซื้อมันหมดไปตอนแรก ช่วงโควิดเนี่ยเป็นมาตการลักษณะที่เค้า
เรียกว่าปูพรหมพอเศรษฐกิจเริ่มเริ่มฟื้น ขึ้นเราเริ่มเปิดเปิดเมืองเนี่ยก็จะ เปลี่ยนเป็นลักษณะที่จะเฉพาะจุดมากขึ้น
แค่กลุ่มเปราะบาจริงๆนโยบายการเงินก็ คล้ายๆทำงานแบบคู่กันไปแบบนี้ฮะนโยบายการ เงินต้องดูภาพรวมแล้วก็มาตรการเฉพาะจุดก็
มาช่วยดูแลสิ่งที่นโยบายการเงินไม่สามารถ เข้าไปดูแล ได้ที่สำคัญอันแรกคือเรามีความหลากหลาย
ของคณะกรรมการสิ่งแรกที่ที่ที่ต้องทำคือ ให้ข้อมูลแบบชัดเจนเต็มที่จนทุกท่านเริ่ม เห็นภาพเศรษฐกิจที่คล้ายคลึงกันงั้น
กระบวนการมันจะมีลักษณะช่วงแรกเป็นที่ เรียนว่าการให้ข้อมูลแล้วก็ให้กรรมการตก ผลึกเรื่องของไอ้ภาพเศรษฐกิจอันที่ 2
เป็นการพูดคุยการแลกเปลี่ยนระหว่าง กรรมการแล้วค่อยเป็นช่วงที่ 3 ที่เรื่อง ของการตัดสินนโยบายในแง่องค์ประกอบของคณะ
กรรมการนโยบายการเงินที่จริงของเราอาจจะ อาจจะพิเศษเฉพาะนิดนึงในแง่ว่าเรามีคณะ กรรมการภายนอกเยอะกว่าภายในที่สำคัญกว่า
คือเป็นเรื่องของวัฒนธรรมที่พัฒนาขึ้นมา รับฟังมีความแตกต่างกันได้ครั้งนี้คณะ กรรมการแต่ละท่านมี background ที่หลาก
หลายก็จะนำให้มุมมองที่หลากหลายเนี่ยเข้า มาก็ช่วยให้ให้ความหลากหลายตนั้นน่ะมันนำ มาสู่ไอ้การตัดสินนโยบายที่ดีที่สุด้าที่
ดีได้นะครับอะไรก็ตามที่กระทบแนวโน้ เศรษฐกิจกนงต้องต้องคำนึกถึงอยู่แล้วที่ ผ่านมามันเป็นช่วงเรื่องของนโยบายการเงิน
ต่างประเทศเรื่องของรัฐบาลใหม่แล้วก็ นโยบายรัฐบาลใหม่ที่เข้ามาเราก็ต้องคำนึง ถึงเพราะมันก็เป็นตัวแปรที่สำคัญต่อแนว
โน้มเศรษฐกิจแนวนโยบายใหม่ถ้ามีความชัด เจนขึ้นเมื่อไหร่ก็ต้องต้องต้องรับมา ประเมินอยู่ในแนวโน้มอยู่แล้วคือนโยบาย
ที่ที่ผ่านมาโดยทั่วไปอ่ะมันควรจะเสริม ซึ่งกันแล้วกันแล้วเป้าหมายของของไอ้ นโยบายการคลังน่ะก็มีมีค่อนข้างจะหลาก
หลายเรื่องของของเศรษฐกิจในเรื่องของความ เท่าเทียมเรื่องของการพัฒนาศักยภาพเรื่อง ของสิ่งแวดล้อมโดยรวมแล้วเราก็มีการพูด
คุยกับทางกระทรวงการคลังแล้วก็อยากให้ให้ นโยบายมันมันสอดคล้องกันละ ฮะ
y
Heads up!
This summary and transcript were automatically generated using AI with the Free YouTube Transcript Summary Tool by LunaNotes.
Generate a summary for freeRelated Summaries

Understanding Monetary Policy: Objectives and Instruments Explained
In this video, Minisetti provides a comprehensive overview of monetary policy, detailing its meaning, objectives, and instruments. Key objectives include price stability, economic growth, unemployment reduction, and addressing economic inequalities, while instruments are categorized into quantitative and qualitative types.

Understanding the Global Economy: Insights from Leading Economists
Explore the current state and future of the global economy through expert insights on China, America, Europe, and Africa.

Understanding Fiscal Policy: Objectives and Instruments
This video provides a comprehensive overview of fiscal policy, detailing its meaning, objectives, and instruments. It explains how government expenditure and revenue programs impact production, employment, and national income, while also discussing the tools used to achieve these goals.

Understanding the Looming Recession: Why Only the Paranoid Survive in Today's Market
Explore the signs pointing towards an impending recession and the crucial economic indicators to watch.

Understanding GDP: A Comprehensive Guide to Gross Domestic Product
Explore the fundamentals of GDP, its significance, and implications for economic growth.
Most Viewed Summaries

Mastering Inpainting with Stable Diffusion: Fix Mistakes and Enhance Your Images
Learn to fix mistakes and enhance images with Stable Diffusion's inpainting features effectively.

A Comprehensive Guide to Using Stable Diffusion Forge UI
Explore the Stable Diffusion Forge UI, customizable settings, models, and more to enhance your image generation experience.

How to Use ChatGPT to Summarize YouTube Videos Efficiently
Learn how to summarize YouTube videos with ChatGPT in just a few simple steps.

Pamaraan at Patakarang Kolonyal ng mga Espanyol sa Pilipinas
Tuklasin ang mga pamamaraan at patakarang kolonyal ng mga Espanyol sa Pilipinas at ang mga epekto nito sa mga Pilipino.

Pamamaraan at Patakarang Kolonyal ng mga Espanyol sa Pilipinas
Tuklasin ang mga pamamaraan at patakaran ng mga Espanyol sa Pilipinas, at ang epekto nito sa mga Pilipino.